วันอังคารที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2566

สำนักงานศุลกากรภาคที่ 2 จับกุมบุรี่ไฟฟ้า ลักลอบนำเข้า จำนวนมาก มูลค่ารวม 7 ล้าน บาท

 สำนักงานศุลกากรภาคที่ 2 จับกุมบุรี่ไฟฟ้า ลักลอบนำเข้า จำนวนมาก มูลค่ารวม 7 ล้าน

บาท




ตามที่ นายพชร อนันตศิลปั อธิบดีกรมศุลกากร มีนโยบายมุ่งเน้นการป้องกันและ

ปราบปราม การลักลอบนำเข้าสินค้าต้องห้ามต้องจำกัด เพื่อป้องกันและปราบปรามการกระทำความผิด

ตาม พ.ร.บ. สุลกากร พ.ศ. 2560 และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง จึงได้มอบหมายให้ นายพงศ์เทพ บัวทรัพย์ รอง

กรมศุลกากร รักษาการในตำแหน่งที่ปรึกษาด้านการพัฒนาระบบควบคุมทางศุลกากร และนายพร้อม

ชาย สนิทางศ์ ณ อยุธยา ผู้อำนวยการสำนักงานศุลกากรภากที่ 2 สั่งการให้เจ้าหน้าที่ศุลกากรในพื้นที่

ตรวจสอบและเฝ้าระวังเป็นพิเศษ





นายชนินทร์ ศุภรินทร์ ผู้อำนวยการส่วนควบคุมทางคุลกากร และนายเรวัตน์ บางพา

หัวหน้าฝ่ายสืบสวนและปราบปราม ได้นำเจ้าหน้าที่ฝ่ยสืบสวนและปราบปราม ส่วนดวบคุมทาง

ดุลกากร สำนักงานตุลกากรภาคที่ 2 ลงพื้นที่สืบสวนอย่างเข้มงวด และจากการตรวจสอบโดยละเอียด

พบการกระทำความผิดในพื้นที่จังหวัดนครราชสีมา มีพฤติกรรมซุกซ่อนและจำหน่ายสินค้าประเภทบุหรี่

ไฟฟ้า น้ำยาบุหรี่ไฟฟ้า และอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องจำนวนมาก ในวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2566 จึงได้ร่วมกับ






เจ้าหน้าที่ศลกากรหน่วยสืบสวนปราบปรามประจำพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ฝปป.2 สปป.1 กสป.

และด่านศุลกากรช่องจอม วางแผนตรวจดัน-จับกุม พื้นที่เป้าหมายในตัวเมืองจังหวัดนครราชสีมา

รวม 4 แห่ง ผลการตรวจคันพบบุหรี่ไฟฟ้า น้ำยาบุหรี่ไฟฟ้า และอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง จำนวนมาก มูลค่า

รวม 7 ล้านบาท เจ้าหน้าที่ ฯ ได้ทำการยืดของกลาง พร้อมทั้งควบคุมตัวผู้ต้องหาทั้งหมด ส่งสำนักงาน

ศุลกากรภาคที่ 2 เพื่อดำเนินคดีตามกฎหมายต่อไป

โดยสินค้าประเภทบุหรี่ไฟฟ้า และน้ำยาบุหรี่ไฟฟ้านั้นถือเป็นสินค้ต้องห้ามนำเข้ามาใน

ราชอาณาจักร ตามประกาศกระทรวงพาณิชย์ เรื่อง "กำหนดให้บารากูและบารากูไฟฟ้า หรือบุหรี่ไฟฟ้า

เป็นสินค้าที่ต้องห้ามในการนำเข้ามาโนราชอาณาจักร พ.ศ. 2557 ลงวันที่ 12 ธันวาคม 2557"












จุดประสงค์เพื่อป้องกันมีให้นำสินค้าดังกล่าวไปใช้อันก่อให้เกิดปัญหาทางด้านสุขภาพ สุขอนามัย สังคม

ความมั่นคง ของประเทศ และความสงบเรียบร้อยและลธรรมอันดีของประชาชน และเป็นสินค้าต้องห้าม

นำเข้าหรือส่งออก ตาม พ.ร.บ. ศุลกากร พ.ศ. 2560 การจำหน่ายของซึ่งตนรู้ว่าเป็นความผิดดังกล่าว

เป็นความผิดตามมาตรา 246 แห่ง พ.ร.บ. ศุลกากร พ.ศ. 2560 ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินห้าปี หรือ

ปรับเป็นเงินสี่เท่าของราดาของรวมคำอากร หรือทั้งจำทั้งปรับ

ตี๋สมเด็จและทีมข่าว/รายงาน

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น